การทำ Web Mail Server ใช้เอง ตอนที่ 2
ต่อจากตอนที่แล้ว เราจะมาติดตั้งตัว Protocol IMAP และ POP3
โดยเราจะใช้ Software ที่มีชื่อว่า dovecot
เรามาทำการติดตั้งกันโดยใช้คำสั่ง
#yum install dovecot
#cd /etc/dovecot → ไฟล์แรกที่ต้องเข้าไปแก้
#ls
#vi dovecot.conf → ไฟล์แรกที่ต้องเข้าไปแก้
protocols = imap pop3 lmtp submission
listen = *, ::
#cd conf.d/
#vi 10-auth.conf → เข้าไปแก้ไขตามข้างล่าง
auth_mechamisms = plain login
#vi 10-mail.conf → เข้าไปแก้ไขตามข้างล่าง
mail_location =maildir:~/Maildir
#vi 10-master.conf
unix_listener /var/spool/postfix/private/auth{
mode = 0666
user = postfix
group = postfix
}
#vi 10-ssl.conf
ssl = yes
#systemctl restart dovecot
#systemctl enable dovecot
#netstat -tuanp | grep dovecot
Port 110 : IMAP
Port 143 : POP3
เราสามารถเข้าไปดูในไฟล์ได้ว่าแต่ละ Protocol ใช้ Port อะไรบ้างด้วยคำสั่ง
#less /etc/services
ทดสอบการใช้งานตัว dovecot กับ postfix ด้วยกัน
เข้าไปที่
vi /etc/postfix/main.cf → แล้วเอาข้อมูลข้างล่างไปวางใน file
message_size_limit = 10485760
mailbox_size_limit = 1073741824
# SMTP-Auth setting
smtpd_sasl_type = dovecot
smtpd_sasl_path = private/auth
smtpd_sasl_auth_enable = yes
smtpd_sasl_security_options = noanonymous
smtpd_sasl_local_domain = $myhostname
smtpd_recipient_restrictions = permit_mynetworks, permit_auth_destination,
permit_sasl_authenticated, reject
#systemctl restart postfix
ทดสองส่ง Email ด้วยคำสั่ง
#telnet localhost 25 → ตามรูปด้านล่าง
เข้าไปเช็คที่
#cd /home/usera/Maildir/new → จะเห็นอีเมล์ฉบับที่ 2 ขึ้น
ขั้นตอนต่อมาเราจะต้องติดตั้งตัว Webmail เราจะใช้ตัว Software ชื่อว่า Squirrelmail
โดยติดตั้ง LAMP ก่อน
L:Linux
A:Apache
M:mysql,mariadb
P:php
#yum install httpd -y
#systemctl start httpd
#systemctl enable httpd
#netstat -tuanp | grep httpd
#yum install mariadb-server
#systemctl start mariadb
#systemctl enable mariadb
#netstat -tuanp | grep mysql
ทดสอบ login เข้าไปใน mysql
#mysql -u root -p
ถ้าต้องการเปลี่ยนรหัสผ่านของตัว mysql ใช้คำสั่งนี้
#mysql_secure_installation
ต่อไปติดตั้งตัว php
#yum install php php-mysql
#systemctl restart httpd
ทดสอบการใช้งานร่วมกัน
#cd /var/www/html/
#vi php2db.php
<?php
$servername = “localhost”;
$username = “root”;
$password = “1234567890”;// Create connection
$conn = mysqli_connect($servername, $username, $password);// Check connection
if (!$conn) {
die(“Connection failed: “ . mysqli_connect_error());
}
echo “Connected successfully”;
?>
ทำการทดสอบ
#php php2db.php
ขั้นตอนต่อมาเราจะต้องติดตั้งตัว Webmail เราจะใช้ตัว Software ชื่อว่า Squirrelmail
#yum install wget
# wget https://jaist.dl.sourceforge.net/project/squirrelmail/stable/1.4.22/squirrelmail-webmail-1.4.22.tar.gz
# tar zxvf squirrelmail-webmail-1.4.22.tar.gz
# mv squirrelmail-webmail-1.4.22 webmail
# chown -R apache:apache webmail/
# mkdir -p /var/local/squirrelmail/data/
# chown -R apache:apache /var/local/squirrelmail/data/
#cd webmail/config/
#./conf.pl
กด 2 และ กด 1 ตั้งค่า Domain
กด s เพื่อ save และ enter และ กด q ออกมา
และทำการทดลองเข้าผ่านหน้าเว็บ เราจะได้ดังรูป
http://192.168.10.240/webmail/src/login.php
ตอนนี้เราจะใส่ usera ในการ login ไม่ได้ เราต้องทำกำหนด Password ให้ usera ก่อน
#passwd usera
ตอนนี้ผมตั้ง
user : usera
pass : 1234567890
เมื่อ Login แล้วจะ Web Mail ดังรูป