CCNA IOS Command
- การเปลี่ยน Hostname
R1#configure terminal
R1(config)#Hostname VHM-Router
- การตั้ง Console Password
VHM-Router(config)#line console 0
VHM-Router(config-line)#password cisco
VHM-Router(config-line)#login
- การตั้ง Enable Password
VHM-Router(config)#enable password cisco
- การตั้ง Enable Secret Password (จะเป็นการ Encry การเข้ารหัส)
VHM-Router(config)#enable secret sanfran
** ถ้าตั้งทั้ง 2 อย่างมันจะยึดอันที่ Secret เป็นหลัก
- การเปิดให้เข้าผ่าน Telnet และ ssh
VHM-Router(config)#line vty 0 4 (อนุญาติให้เข้าผ่านได้ 5 คน)
VHM-Router(config-line)#password cisco
VHM-Router(config-line)#login
- การใส่ Banner
VHM-Router(config)#Banner Motd 1 (ในนี้ใส่เลข1ถ้าข้อความใส่เลข 1 แปลว่าจบข้อความ)
############### Welcome VHM ###############1
- การใส่ IP Address เพื่อให้เราสามารถเข้าผ่าน Telnet ผ่าน IP
VHM-Router(config)#interface f0/0
VHM-Router(config)#ip address 10.10.10.254 255.255.255.0
VHM-Router(config)#no shutdown
VHM-Router(config)#exit
VHM-Router#show ip interface brief
- การตั้ง User Password (ข้อดีคือสามารถเช็คได้ว่าUserไหนเข้ามาในอุปกรณ์เรา)
VHM-Router(config)#username admin password cisco
หรือ VHM-Router(config)#username jodoi privilege 15 password cisco
(privilege ถ้า 0 เป็น user ถ้า 15 เป็น admin)
ถ้าต้องการเอาไปใช้กับ telnet เพิ่ม locol เข้าไปที่ login
VHM-Router(config)#line vty 0 4
VHM-Router(config-line)#login local
- การตั้งว่าไม่ว่าจะ login แบบไหนให้ใส่ user pass
VHM-Router(config)#aaa new-model
VHM-Router(config)#aaa authentication login default local
(ถ้าเราสั่งให้ใส่ user pass เราสามารถไปเอา password ที่ตั้งใน console กับ vty ออกได้ให้มาใส่ user pass ที่ตั้งไว้แทน)
VHM-Router#show user (เป็นคำสั้งดูว่าuserไหน login เข้ามาใน routerบ้าง)
- การ Save config
VHM-Router#copy running-config startup-config
- การ Backup File
ต้องทำการโหลดโปรแกรม Cisco TFTP Server
กลับมาที่ Router Cisco ที่เราต้องการจะ Backup
ลองสั่ง ping ไป 10.10.10.1 ว่าเรา ping เจอไหม ถ้าเจอแปลว่าสามารถเชื่อมต่อกันได้
คำสั่งการ Backup
VHM-Router#copy running-config tftp:
Address or name of remote host []? 10.10.10.1 (IP ของเครื่องที่จะเก็บไฟล์)
Destination filename [vhm-router-confg]? Backup_Router_211119 (ชื่อไฟล์)
มาเช็คที่ TFTP Server ว่าสำเร็จไหม
การ Restore Config
ขั้นตอนแรกเราต้องกำหนด IP ให้เชื่อมกันให้ได้ก่อนแล้วค่อย Restore
ขั้นตอนการ Restore เมื่อเชื่อมกันได้
R1#copy tftp running-config
Address or name of remote host []? 10.10.10.1 (IP เครื่องที่เก็บไฟล์)
Source filename []? Backup_Router_210619(ชื่อไฟล์)
Destination filename [running-config]?(กด enter)
VHM-Router# (เมื่อ Restore เสร็จเราจะเห็นชื่อ Host ขึ้นมาอันดับแรกเลย )
- Backup Upgrade Install IOS on CISCO Router
CiscoRouter1#show flash: (โชว์ไฟล์)
เราเข้าไปเช็คที่ Server ที่เก็บไฟล์ TFTP เรายังไม่มีไฟล์ “c2900-universalk9-mz.SPA.151–4.M4.bin” เราต้องทำการ Backup ไว้ก่อน
- ขั้นตอนการ Backup IOS
CiscoRouter1#copy flash: tftp
Source filename []? c2900-universalk9-mz.SPA.151–4.M4.bin (ชื่อไฟล์ IOS ที่ต้องการทำการ Backup)
Address or name of remote host []? 192.168.1.100 (เครื่องที่ต้องการเก็บไฟล์)
Destination filename [c2900-universalk9-mz.SPA.151–4.M4.bin]?(Enter)
เมื่อBackup เสร็จแล้วเข้าไปเช็ค Server จะมีไฟล์ “ c2900-universalk9-mz.SPA.151–4.M4.bin” ขึ้นมา
2. ขั้นตอนการ Upgrade IOS (จะทำกลับกันของ Backup)
CiscoRouter1#copy tftp: flash
3. การ Install IOS กรณีที่ไฟล์ IOS หาย
CiscoRouter1#dir (โชว์ไฟล์ ใน flash)
ทำการลบไฟล์ IOS สมมุติว่าไฟล์หาย แล้วเราต้องการ Install ios ใหม่
CiscoRouter1#delete flash:c2900-universalk9-mz.SPA.151–4.M4.bin
Delete filename [c2900-universalk9-mz.SPA.151–4.M4.bin]?
Delete flash:/c2900-universalk9-mz.SPA.151–4.M4.bin? [confirm]
CiscoRouter1#dir (โชว์ไฟล์ ใน flash)
CiscoRouter1#reload (รีบูทเครื่องใหม่)
rommon 1 > (แปลว่าไฟล์ ios หาย)
ขั้นตอนการ INSTALL IOS
rommon 2 > tftpdnld
rommon 3 > set
PS1=rommon ! >
rommon 4 > IP_ADDRESS=192.168.1.254
rommon 5 > IP_SUBNET_MASK=255.255.255.0
rommon 6 > DEFAULT_GATEWAY=192.168.1.254
rommon 7 > TFTP_SERVER=192.168.1.100
rommon 8 > TFTP_FILE=c2900-universalk9-mz.SPA.1514.M4.bin
rommon 9 > tftpdnld
Do you wish to continue? y/n: [n]: y
แค่นี้ก็เป็นการ Install ios เสร็จเรียบร้อย